วรรณกรรม (LITERATURE) 2. ดนตรีและนาฏศิลป์ (MUSIC ANDDRAMA) 3. จิตรกรรม (PAINTING) 4. ปฎิมากรรม หรือ ประติมากรรม (SCULPTURE) 5. สถาปัตยกรรม (ARCHITECTURE) วิจิตรศิลป์ทั้ง 5 ประเภทนี้ก่อให้เกิดอารมณ์และพุทธิปัญญา กล่าวคือ มนุษย์อาศัยศิลปะเพื่อแสวงหาความดีและความบันเทิงใจให้กับจิตใจคนเห็นคุณค่าทางศนาและวรรณคดีความสง่าแห่งสถาปัตยกรรมบังเกิดความพอใจและมีอารมณ์คล้อยตามไปกับความรู้สึกนึกคิดของเรื่องราวและการแสดงออกของศิลปิน 1. ประยุกต์ศิลป์ (APPLIED ARTS) เป็นศิลปะแห่งอัตถะประโยชน์เพื่อสนองความต้องการทางอารมณ์และด้านวัสดุที่ก้าวหน้าโดยนำไปใช้ประโยชน์เกี่ยวกับหัตถกรรมและโภคภัณฑ์ เช่น เครื่องใช้ภายในบ้าน การประดิษฐ์เครื่องแต่งกาย อาหาร 2. มัณฑนศิลป์ (DECORATIVE ARTS) เป็นศิลปะแห่งการตกแต่งประดับประดา เช่นการตกแต่งสวนอาคาร สถานที่ต่างๆห้องรับแขกโดยใช้ศิลปะในการตกแต่งในสถานที่หรืออาคารนั้นมีความงามส่งเสริมทางด้สนจิตใจและอารมณ์ อุตสาหกรรมศิลป์ หรือ พาณิชย์ศิลป์ (INDUSTAIL OR COMMERCAIL ARTS) เป็นศิลปะที่สร้างขึ้นเพื่อประโยชน์ใช้สอยส่วนใหญ่ ทำเป็นอุตสาหกรรมในครอบครัว หรือในโรงงานอันเป็นผิตผลเพื่อการเงิน ศิลปบริสุทธิ์ (PURE ARTS) เป็นศิลปะเพื่อตอบสนองอารมณ์ของศิลปินในการแสดงผลงานของตนออกมาในรูปแบบอิสระ 5.

กำเนิดนาฏศิลป์ – ประวัตินาฎศิลป์ไทย

แนวความคิกและปรัชญาความเชื่อ 2. วัสดุและสิ่งแวดล้อม 3. การรับอิทธิพลทางศิลปะ 4.

ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทย จะคงไว้ในรูปของขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม เป็นศิลปะประจำชาติที่เราควรภาคภูมิใจ โดยจะแบ่งเป็น 4 ช่วงใหญ่ๆ ดังนี้ - สมัยก่อนสุโขทัย - สมัยสุโขทัย - สมัยอยุธยา - สมัยรัตนโกสินทร์ 2. ทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมสากล เป็นศิลปะที่มีการผสมผสานแนวความคิดตลอดจนรูปแบบต่างๆไว้อย่างกว้างขวาง มีการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการสร้างสรรค์ผลงานโดยอิสระ โดยแบ่งออกเป็น 3 สมัย - สมัยโบราณ - สมัยกลาง - สมัยใหม่ ดังนั้น การที่จะเปรียบเทียบความแตกต่างของงานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรมไทยและสากลให้เห็นภาพอย่างละเอียดและมีความเด่นชัด อาจเป็นไปได้ยากเนื่องจากมีเนื้อหาสาระและรายละเอียดมาก ในระดับชั้นนี้คงต้องอาศัยการเปรียบเทียบความแตกต่างของทัศนศิลป์ทั้งสองเป็นภาพรวม

Anica k touch i9 ราคา camera

พลาสติกอาร์ต เป็นศิลปะประเภทที่มีรูปทรง คือ มีคุณค่าเชิงสามมิติ มีความกว้าง สูง และความลึก แหล่งที่มา:

คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คุณค่าของเรื่องราวลักษณะนี้เป็นการนำเสนอ ในเรื่องของความงามของธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และการพึ่งพาอาศัยกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พร้อมทั้งเสนอแง่คิดว่าทำไมมนุษย์จึงทำลายธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม และทำไมเราต้องรณรงค์ต่อต้านการทำลายธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม สมควรที่จะอนุรักษ์ให้อยู่คู่มนุษย์สืบไป รูปแบบเรื่องราว ได้แก่ การปลูกป่า มลพิษจากโรงงาน น้ำเน่าเสีย ความงามและการทำลายธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม เป็นต้น 7. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับวรรณคดี นิทานพื้นบ้าน สำนวน คำพังเพย สุภาษิต เป็นการถ่ายทอดเรื่องราวจากหนังสือ นิทานพื้นบ้าน สำนวน คำพังเพย สุภาษิต ตำนาน พงศวดาร ที่สามารถบรรยายเนื้อหาเรื่องราว ให้ผู้ดูได้รู้อย่างชัดเจน โดยแสดงเป็นภาพเล่าเรื่อง เช่น ภาพจิตรกรรมไทย สังข์ทอง และรามเกียรติ์ เป็นต้น 8. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นการนำเสนอเรื่องของความเจริญก้าวหน้าในด้านวิทยาการต่างๆ ที่นำพาให้ประเทศนั้นๆ เจริญรุ่งเรือง คุณค่าของเรื่องราวประเภทนี้สามารถโน้มน้าวให้ผู้ชมเห็นความสำคัญของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย เช่น เรื่องราวเกี่ยวกับอุตสาหกรรม ยานอวกาศ วงการแพทย์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ และการสื่อสาร เป็นต้น

บทที่7 ทัศนศิลป์กับวัฒนธรรม - มีนนี่'จังง'ง

คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี มนุษย์ทุกชนย่อมมีศาสนาวัฒนธรรมและประเพณีของตนเอง และด้วยความรักความศรัทธา ทำให้เกิดพลังและแรงบันดาลใจอันมหาศาลที่จะถ่ายทอดความเชื่อ ความศรัทธาให้ผู้อื่นได้รับรู้ เรื่องราวที่เกี่ยวกับศาสนาและวัฒนธรรม จึงถูกสะท้อนผ่านจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ออกมาทางรูปแบบงานทัศนศิลป์ในหลากหลายประเภทตลอดทุกยุคทุกสมัยเปรียบเสมือนภาพจำลองเหตุการณ์ เช่น ภาพจิตรกรรมไทย ชาดก พุทธประวัติ เป็นต้น 4. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเมือง การปกครอง เช่น การสร้างประติมากรรมอนุสาวรีย์บุคคลสำคัญ ๆ เพื่อเป็นอนุสรณ์แสดงว่าบุคคลผู้นั้นเป็นผู้มีความสามารถในการเมืองการปกครอง 5. คุณค่าเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตประจำวันของคนที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่างๆ เป็นการถ่ายทอดเกี่ยวกับการเผชิญในสิ่งที่มนุษย์ได้กระทำอยู่ในแต่ละวัน เพราะการดำรงชีวิตอยู่ของมนุษย์ในสังคมต้องการความสุข โดยอาศัยปัจจัยสำคัญที่ทำให้เกิดความสุขในแต่ละวัน ได้แก่ ทางร่างกาย จิตใจอารมณ์ และทางด้านสังคม ดังนั้นเรื่องราวที่นำเสนอเพื่อให้เกิดคุณค่า เช่นเรื่องราวของที่อยู่อาศัย อาคาร ยารักษาโรค การพักผ่อนหย่อนใจ ความปลอดภัย ความก้าวหน้าทางการศึกษาและอาชีพเป็นต้น 6.

คุณค่าของงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์เป็นศิลปะที่รับรู้ได้ด้วยสายตา การรับรู้ทางการมองเห็นในแขนงจิตรกรรม ประติมากรรมและสถาปัตยกรรม ทำให้เกิดแรงกระตุ้นและตอบสนองทางด้านจิตใจพร้อมกันนั้นจิตใจของมนุษย์ก็เป็นตัวแปรค่าและกำหนดความงาม ความประณีต เรื่องราว และประโยชน์ต่อสังคมมนุษย์ การรับรู้คุณค่าของสิ่งเหล่านี้ รับรู้ได้ด้วยอารมณ์ ความรู้สึกของแต่ละบุคคล ความงามและเรื่องราวจะเกิดมีคุณค่าก็เพราะการรับรู้ทางการมองเห็น เกิดความรู้สึกประทับใจ มีความอิ่มเอิบใจในคุณค่านั้นๆ สำหรับงานทัศนศิลป์ไม่ว่ารูปแบบใดย่อมมีคุณค่าในตัวของผลงานเอง ผลงานทัศนศิลป์สามารถแบ่งการรับรู้คุณค่าได้ 2 คุณค่าคือ 1.

ทัศนศิลป์กับการสะท้อนคุณค่าทางวัฒนธรรม - มีนนี่'จังง'ง

งาน power buy expo 2019
  • ชู ก้าน อม อ ลงประกาศฟรี
  • การทำลายเอกสารทางบัญชี รับทำลายเอกสารสำคัญทุกชนิด
  • Brand essence องค์ประกอบ 4 ด้าน d
  • เฉลย แบบฝึกหัด เท อ ร์ โม ไดนามิก ส์
  • แชมพู Wemall
  • บทที่7 ทัศนศิลป์กับวัฒนธรรม - มีนนี่'จังง'ง
  • ผลสอบคัดเลือกนักเรียน วมว.-มข. ปีการศึกษา 2564 – โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฝ่ายมัธยมศึกษา (ศึกษาศาสตร์)
October 1, 2021