การจี้หัวใจด้วยคลื่นวิทยุสามารถรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะให้หายเป็นปกติได้ ผู้ป่วยที่เหมาะสำหรับการรักษาด้วยวิธีนี้คือ แก้ไขสาเหตุที่แก้ไขได้แล้วแต่ยังมีหัวใจเต้นผิดจังหวะ รับประทานยาแล้ไม่ได้ผล รับประทานยาแล้วมีผลข้างเคียง ต้องการหายขาด ไม่ต้องการที่จะทานยาต่อเนื่องระยะยาว การรักษาด้วยการจี้หัวใจด้วยคลื่นวิทยุเป็นวิธีเดียวที่สามารถรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นปกติได้ Health Infographic: Cardiac Arrhythmia ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ

มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะชนิดสั่นพลิ้ว (atrial fibrillation (AF)) หรือผู้ป่วยที่ผ่าตัดเปลี่ยนลิ้นหัวใจชนิดโลหะ ผู้ป่วยที่มีภาวะลิ่มเลือดในห้องหัวใจ เป็นยาป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดใหม่ที่จะหลุดไปอุดหลอดเลือดที่สมองทำให้เกิดอัมพฤกษ์หรืออัมพาตได้ ที่ใช้ในการรักษา มี 2 ชนิด ได้แก่ 6. 1 Warfarin เป็นยาดั้งเดิม ป้องกันการแข็งตัวของเลือด ถ้าได้ยากลุ่มนี้ จะต้องมาตรวจเลือดดูระดับของยา ทุก 1-3 เดือน เนื่องจากระดับยาน้อยไม่ได้ผล ถ้าระดับมากทำให้เกิดภาวะเลือดออก 6.

ล้อ แม็ ก มือ สอง ขอบ 18 5 รู 112

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Cardiac Arrhythmia หัวใจเต้นปกติเป็นอย่างไร? หัวใจปกติจะเต้นอย่างสม่ำเสมอ ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนไปตามกิจกรรมของร่างกาย โดยในขณะพักหัวใจจะเต้นประมาณ 60-100 ครั้งต่อนาที ในขณะเดินหัวใจจะเต้นเร็วขึ้นประมาณ 100-120 ครั้งต่อนาทีและมากกว่า 120 ครั้งต่อนาทีในขณะวิ่ง อย่างไรก็ตามนักกีฬาหรือผู้ที่ออกกำลังเป็นประจำ อาจมีชีพจรในขณะพักระหว่าง 50-60 ครั้งต่อนาที ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นอย่างไร? ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะจะมีความผิดปกติในสองลักษณะ ผิดปกติในอัตราการเต้นของหัวใจ คือ เต้นช้าหรือเร็วมากเกินไปไม่เหมาะกับกิจกรรมของร่างกายในขณะนั้น ผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ คือ หัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอ เต้นๆ หยุดๆ ผู้ป่วยบางรายอาจมีความผิดปกติทั้งอัตราการเต้น และจังหวะการเต้นของหัวใจก็ได้ เช่น เต้นๆ หยุดๆ และเต้นเร็ว ในบางรายอาจมีเต้นช้าสลับกับเต้นเร็วก็ได้ ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมีกี่ชนิด? หัวใจเต้นผิดจังหวะมีไม่ต่ำกว่า 10 ชนิด แต่ละชนิดจะมีกลไกการเกิด สาเหตุ อาการ การพยากรณ์โรคและวิธีการรักษาที่แตกต่างกันออกไป ดังนี้ หัวใจเต้นช้าเกินไป (Bradyarrhythmia) คือเต้นช้าน้อยกว่า 60 ครั้งต่อนาที หัวใจเต้นเร็วเกินไป (Tachyarrhythmia) คือเต้นเร็วมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะมีอาการอย่างไร?

แนวทางในการใช้ยาเพื่อรักษาผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ทั้งในด้านแนวทาง การรักษา ข้อบ่งชี้และชนิดของยาที่เลือก มีการค้นพบยาชนิดใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูง ในการควบคุมภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ และเกิดภาวะแทรกซ้อนน้อย แต่การรักษาโดยการใช้ยา ยังมีปัญหาอยู่หลายประการ ทั้งในแง่ compliance ประสิทธิภาพของยา และภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น ดังนั้นในการตัดสินใจใช้ยา เพื่อควบคุมภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ จึงมีข้อที่ควรคํานึงถึงดังนี้ 1. ความจําเป็นในการใช้ยา ในการใช้ยาเพื่อควบคุมภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ มีวัตถุประสงค์เพื่อทําให้จังหวะการเต้นของหัวใจกลับมาปกติ ทำให้การเปลี่ยนแปลงทาง hemodynamic ที่เกิดขึ้น กลับมาเป็นปกติ และผู้ป่วยมีอายุยืนยาวขึ้น ดังนั้นความจําเป็นของการใช้ยา จึงขึ้นอยู่กับชนิดของความผิดปกติ ในจังหวะการเต้นหัวใจ และการเปลี่ยนแปลงทาง hemodynamic ที่เกิดขึ้นดังนี้ 1. 1 Life threatening arrhythmias เช่น ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ (tachycardia) ที่มีผลทําให้ประสิทธิภาพ การทํางานของหัวใจลดลง หรือผู้ป่วยที่มีภาวะ congenital long QT syndrome มีโอกาสของการเกิด ventricular tachycardia ได้บ่อยและเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิด sudden death ดังนั้นการใช้ยาในผู้ป่วยเหล่านี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทําให้จังหวะการเต้น ของหัวใจ และประสิทธิภาพการทํางานของหัวใจ กลับมาปกติ หรือควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติในจังหวะการเต้นของหัวใจ ที่อันตรายกับผู้ป่วย 1.

ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ Cardiac Arrhythmia

2 ภาวะที่มีการกระตุ้นการทำงานของระบบประสาท sympathetic ทําให้มีปริมาณ catecholamine ในเลือดสูงขึ้น มีการเพิ่มปริมาณของ calcium ion ในเซลล์ ทำให้เกิดภาวะ delayed after-depolarization และเกิดการเต้น หัวใจผิดจังหวะขึ้น การมี calcium ion ในเซลล์เพิ่มขึ้น จะเพิ่มความเร็วของการเกิด depolarization ใน SA node และ AV node ทําให้ประสิทธิภาพของยาในกลุ่ม calcium channel blockers และ beta adrenergic blockers ลดลง 8.

โชติกร อธิบาย รู้จักกับ อุปกรณ์ปิดรยางค์หัวใจ เนื่องจากผู้ป่วยภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วมีโอกาสเป็นโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่าคนปกติถึง 5 เท่า การรักษาเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจึงมีความจำเป็นโดยขั้นตอนในการรักษาจะเริ่มด้วยการหาสาเหตุของการเกิดโรคเพื่อแก้ไขที่ต้นเหตุก่อน จากนั้นจึงเป็นการให้ยาคุมจังหวะ การเต้นของหัวใจไม่ให้เต้นเร็ว หรือไม่ให้เต้นผิดจังหวะ และการป้องกันการเกิดลิ่มเลือดเพื่อลดความเสี่ยงที่ผู้ป่วยจะเป็นโรคหลอดเลือดสมอง นพ.

  1. Jean claude ellena l eau d hiver ราคา 2020
  2. Allergan botox 100 units ราคา 1000
  3. Le labo bergamote 22 ราคา price
  4. มูลนิธิหัวใจแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  5. รี ไฟแนนซ์ บัตร กด เงินสด
  6. EasyHorpak.com | แหล่งค้นหาหอพัก,อพาร์ทเมนท์,แมนชั่น,คอนโด

การวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะเป็นสิ่งที่มีความยุ่งยากอยู่บ้าง เนื่องจากหัวใจเต้นผิดจังหวะมีหลายชนิด ผู้ป่วยมีอาการหลากหลายแตกต่างกันออกไป นอกจากนี้หัวใจเต้นผิดจังหวะที่เกิดขึ้นจะมีระยะเวลาสั้นยาวแตกต่างกัน บางชนิดเป็นแค่เสี้ยววินาที บางที่เป็นหลายๆ นาที หรือหลายชั่วโมง มักจะเกิดโดยไม่มีการเตือนล่วงหน้าหรือมีเหตุกระตุ้นชัดเจน การวินิจฉัยที่ถูกต้องแพทย์จำเป็นต้องได้คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) ขณะที่มีอาการเท่านั้นถึงจะวินิจฉัยได้ถูกต้อง มีวิธีการตรวจอะไรบ้างเพื่อให้ได้คลื่นไฟฟ้าหัวใจขณะที่มีอาการภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ?

ผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ กับนวัตกรรมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

2 ภาวะไตวาย (renal failure) ภาวะไตวายทําให้มีการสะสมของยาที่ขับออกจากร่างกายทางไต และเกิดภาวะแทรกซ้อนจากยาได้ง่ายขึ้น เช่น ยา digitalis, procainamide, flecainide, sotalol และ disopyramide โดยเฉพาะ procainamide ซึ่งมี active metabolite เป็น N acetyl procainamide (NAPA) ที่มีฤทธิ์ต้านการเต้นหัวใจผิดจังหวะด้วยเช่นกัน ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาเหล่านี้ ในผู้ป่วยที่มีภาวะไตวาย หรือถ้าจำเป็นต้องใช้ จะต้องลดขนาดของยาลง 7. 3 โรคตับ ผู้ป่วยที่มีการทํางานของตับผิดปกติรุนแรง ทําให้ระดับยาที่ทําลายที่ตับสูงขึ้น เช่น ยา lidocaine, quinidine และ mexilitine 7. 4 ความผิดปกติในทาง metabolism ในภาวะที่มีการขาดออกซิเจน ขาดเลือด (ishemia) ภาวะ acidosis มีความผิดปกติทาง electrolyte หรือมีความผิดปกติในการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ภาวะเหล่านี้มีผลต่อประสิทธิภาพและภาวะแทรกซ้อน ที่อาจเกิดขึ้น จากการใช้ยาได้ 7. 4. 1 ภาวะ acidosis และ hyperkalemia ทําให้ปริมาณ potassium ion นอกเซลล์เพิ่มขึ้น มีผลให้การเข้าเซลล์ (influx) ของ sodium ion ลดลง และ conduction velocity ของ impulses ลดลง ดังนั้นยาที่มีฤทธิ์ลดการเข้าเซลล์ของ sodium ion เช่น ยาในกลุ่ม Class I จึงมีประสิทธิภาพในการควบคุมภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะได้ดีขึ้น ส่วนในภาวะ hypokalemia มีผลทําให้การ repolarization ของเซลล์ช้าลง การเกิดหัวใจเต้นผิดจังหวะที่เกิดจากการมี long QT interval จึงเกิดได้ง่ายขึ้น โดยเฉพาะในการใช้ยาใน Class IA 7.

ผู้ป่วยโรคหัวใจมีหลายกลุ่ม แต่ละกลุ่มต้องพึ่งยาต่างชนิดกันไป ลองมารู้จักยาชนิดรับประทาน 6 กลุ่ม 12 ชนิดที่เกี่ยวกับโรคหัวใจ อาหาร 16 มิถุนายน 2560 โรคหัวใจที่พบบ่อยที่สุด คือ โรคหลอดเลือดหัวใจ รองลงมาคือ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจล้มเหลว และโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะมี ต้องพึ่งยาต่างชนิดกันไป ยารักษาในแต่ละโรคมีความหลากหลาย จัดเป็นหมวดหมู่ได้ 6 กลุ่ม 12 ชนิดยา ดังนี้ 1.

ทาง ไป ศูนย์ ประชุม นานาชาติ คุ้ม คำ

กลุ่มยาที่ใช้รักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 2. 1 ยาขับปัสสาวะ จะทำให้ปัสสาวะออกมาก เพื่อต้องการขับน้ำและเกลือ เมื่อรับประทานยาตัวนี้อาจจะต้องตรวจระดับเกลือแร่ เพราะอาจจะมีภาวะเกลือแร่ต่ำได้ 2. 2 ยาขยายเส้นเลือด ชนิดยาต้านแคลเซียม จะขยายหลอดเลือดแดง ทำให้ความดันโลหิตลดลง ผลข้างเคียงของยา อาจจะมีอาการบวมตรงหลังเท้า เวลาที่ยืนหรือนั่งนานๆ 2. 3 ยาขยายเส้นเลือดชนิด ยาต้านแองจิโอเทนซิน คอนเวอร์ตติง เอนไซม์ (ACEI) และยาต้านแองจิโอเทนซินรีเซ็ปเตอร์ (ARB) เป็นยาที่สามารถชะลอความเสื่อมของหลอดเลือด ป้องกันหลอดเลือดแข็งและตีบได้ ใช้เพื่อลดความดันโลหิต ขยายทั้งเส้นเลือดดำและเส้นเลือดแดง ออกฤทธิ์คล้ายกัน แต่ ACEI จะทำให้เกิดอาการไอ บางครั้งผู้ป่วยทนไม่ไหว ไอมากก็ต้องเปลี่ยนมาเป็น ARB 2. 4 ยาต้านเบต้า (Beta-Blocker) ออกฤทธิ์ทำให้หัวใจเต้นช้า ลดอัตราการเต้นของหัวใจ ลดความดันโลหิตได้แต่ไม่ดีนัก มักจะถูกนำมาใช้ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นเร็ว หรือมีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เพื่อให้หัวใจเต้นช้าลงมีการใช้เลือดน้อยลง ทำให้ไม่เจ็บหน้าอก 3. ยากลุ่ม Nitrate เป็นยาขยายเส้นเลือดหัวใจ มีหลายรูปแบบ มีแบบอมใต้ลิ้น ใช้ในกรณีที่มีอาการเฉียบพลัน แบบสเปรย์ และแบบรับประทานก่อนอาหาร ยาดังกล่าวมีผลข้างเคียง ทำให้ปวดศีรษะ และความดันโลหิตต่ำได้ ดังนั้น เมื่อใช้ยากลุ่มนี้ โดยเฉพาะแบบอมใต้ลิ้น ควรจะนั่งพักประมาณ 15-20 นาที ไม่ลุกขึ้นยืนทันที เพราะอาจจะทำให้วูบ และเป็นลมได้ อนึ่ง ยากลุ่มนี้ห้ามใช้ร่วมกับยาที่รักษาสมรรถภาพทางเพศเสื่อมชนิด Sildenafil เนื่องจากจะเสริมฤทธิ์ ทำให้ความดันโลหิตต่ำ ทำให้เกิดภาวะช็อค หมดสติ และเสียชีวิตได้ 4.

September 30, 2021