1. ที่ดินมรดกติดจำนอง
  2. 3 คำถามต้องตอบ ก่อนรับมรดก - K-Expert
  3. มรดกที่ดิ นต้องโอนให้ใคร เมื่อเ จ้ าของที่ดิ นจากไป ต้องรู้ไว้ - Showbizzinfoo
  4. ผู้จัดการมรดกโอนทรัพย์มรดกให้บุคคลอื่น ทายาทจะทำอย่างไร - ทนายดนตร์

โดย: คนอ่างทอง [IP:] เมื่อ: 2017-10-07 13:13:33 มารดาเสียชีวิต(บิดาเสียชิวิตแล้ว)แต่มีที่ดินของมารดาที่ติดจำนองอยู่(นอกระบบ)แต่ที่ดินนี้ไม่ได้ระบุในพินัยกรรม มารดามีลูกทั้งหมด5คนแต่มีท่าทีที่จะไม่ช่วยเอาที่ดินนี้ออก คำถาม 1. ผมสามารถนำเงินไปไถ่ที่ดินเองได้หรือไม่ 2. ถ้าได้ที่ดินนี้จะเป็นของใคร และควรเตรียมเอกสารอะไรบ้าง 3. ถ้าไม่ได้ควรดำเนินการอย่างไร

ที่ดินมรดกติดจำนอง

  • ฝึกลูกกินผัก! 10 วิธีแก้ปัญหา ลูกไม่กินผัก เกลียดผัก | Ged Good Life ชีวิตดีดี
  • สมัคร เรียน ราชภัฏ นครศรีธรรมราช 63 km
  • The King’s Avatar Season 2 เทพยุทธ์เซียนกลอรี่ ภาค 2 ตอนที่ 1-12 ซับไทย | Anime-Kimuchi ดูอนิเมะซับไทย อนิเมะพากย์ไทย ดูการ์ตูนออนไลน์
  • หวย งวด 17 1 62 1
  • ขาย apple watch series 5 มือ สอง movies
  • ที่ดิน ริม แม่ น้ํา ท่า จีน บางเลน
  • มาสด้าสร้างกระแสตลาดเติบโตสวนวิกฤตเศรษฐกิจ ส่งรถยนต์สายพันธุ์สปอร์ตสู้ศึกพร้อมกัน 3 รุ่นรวด
  • Asics gt 2000 6 ราคา
  • กรมการขนส่งทางบก ตรวจสอบรถทะเบียน 1กภ 4437 คันที่มีข้อมูลในระบบแล้ว
  • การโอนมรดกของผู้ตาย|การโอนมรดกของผู้ตาย
  • Iphone 12 pro max สเปค
  • Samsung galaxy tab s5e มือ สอง india

3 คำถามต้องตอบ ก่อนรับมรดก - K-Expert

เหรียญ หลวง พ่อ สํา เร็ จ

มรดกที่ดิ นต้องโอนให้ใคร เมื่อเ จ้ าของที่ดิ นจากไป ต้องรู้ไว้ - Showbizzinfoo

มาตรา 1336 กรณีไม่ใช่เรื่องการเพิกถอนการฉ้อฉลตามมาตรา 237 เพราะการที่จะเป็นเรื่องเพิกถอนการฉ้อฉลได้นั้น จำเลยที่ 1 ผู้โอนต้องมีสิทธิโอนอยู่แล้ว และการโอนทำให้โจทก์ทั้งห้าซึ่งเป็นเจ้าหนี้เสียเปรียบเท่านั้น เมื่อจำเลยที่ 1 โอนขายที่ดินของโจทก์ทั้งห้าให้แก่จำเลยที่ 2 โดยไม่มีสิทธิ และจำเลยที่ 2 รับซื้อที่ดินพิพาทจากจำเลยที่ 1 ซึ่งไม่มีสิทธิขายแล้ว แม้จำเลยที่ 2 จะรับโอนมาโดยสุจริต เสียค่าตอบแทนและจดทะเบียนแล้วก็ตาม จำเลยที่ 2 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินพิพาทตามหลักที่ว่า "ผู้รับโอนไม่มีสิทธิดีกว่าผู้โอน" คอลลาเจน คอลลา ซิงค์ พลัส ซี Colla Zinc Plus C

ผู้จัดการมรดกโอนทรัพย์มรดกให้บุคคลอื่น ทายาทจะทำอย่างไร - ทนายดนตร์

เสียชีวิต ที่ดินมูลค่า 40 ล้านบาท จึงตกเป็นของนาย ค. ส่วนเงินฝากธนาคาร 10 ล้านบาท ไม่ได้ระบุในพินัยกรรม จึงต้องหาลำดับทายาทโดยธรรม ในกรณีนี้ คือ นาง ข. (ภรรยา) และนาย ค. (บุตรชาย) ต้องนำเงินฝากธนาคารมาแบ่งในสัดส่วนที่เท่ากัน คือ คนละ 5 ล้านบาท ดังนั้น ในกรณีนี้ นาย ค. จะได้รับมรดก จากที่ดิน (ตามพินัยกรรม) จำนวน 40 ล้านบาท และ เงินฝาก (ตามการแบ่งด้วยกฎหมาย) อีก 5 ล้านบาท ส่วน นาง ข. จะได้รับส่วนแบ่ง คือ เงินฝาก 5 ล้านบาทเท่านั้น ในฐานะผู้รับมรดก จึงต้องตรวจสอบก่อนลำดับแรกว่า เป็นทายาทแบบใด ระหว่าง ทายาทตามพินัยกรรม หรือ ทายาทโดยธรรม เพื่อทราบสิทธิในการได้รับมรดก อย่างไรก็ตาม การแบ่งทรัพย์มรดกตามกฎหมาย (ทายาทโดยธรรม) ไม่จำเป็นต้องแบ่งตามสัดส่วนก็ได้ หากตกลงแบ่งกันได้ตามข้อตกลงของทายาท ก็ดำเนินการแบ่งได้เลย 2. สินส่วนตัว และ สินสมรส แยกอย่างไร?

การที่ผู้จัดการมรดกโอนทรัพย์มรดกให้บุคคลอื่นโดยไม่ได้รับความยินยอมจากทายาท ไม่จัดการแบ่งทรัพย์มรดกให้แก่ทายาท ตามสิทธิและหน้าที่ของการเป็นผู้จัดการมรดก ไม่ใช่เรื่องการเพิกถอนการฉ้อฉล แต่ทายาทมีสิทธิให้ทนายความฟ้องเรียกคืนได้โดยอาศัยอำนาจกรรมสิทธิ์ ติดตามเอาคืนทรัพย์มรดก ตามมาตรา 1336 ได้ คำพิพากษาฎีกาที่ 814/2554 ป. พ. มาตรา 237, 1336, 1719 ช. ทำพินัยกรรมยกที่ดินพิพาทแก่ อ. เมื่อ ช. ตายที่ดินพิพาทตกเป็นของ อ. ต่อมา อ. ทำพินัยกรรมยกทรัพย์สินของตนทั้งหมดแก่โจทก์ทั้งห้า เมื่อ อ. ตาย ที่ดินพิพาทตกเป็นของโจทก์ทั้งห้า แม้ศาลจะมีคำสั่งตั้งจำเลยที่ 1 เป็นผู้จัดการมรดกของ ช. จำเลยที่ 1 ก็เพียงแต่มีอำนาจจัดการทรัพย์มรดกของ ช. แทนทายาททุกคนและมีหน้าที่ต้องแบ่งปันทรัพย์มรดกที่ดินพิพาทแก่ทายาททุกคนเท่านั้น แต่ไม่มีสิทธินำที่ดินพิพาทที่ตกเป็นของโจทก์ทั้งห้าไปขายให้บุคคลใด โดยทายาทผู้ได้รับมรดกไม่ยินยอม จำเลยที่ 1 จึงไม่มีสิทธินำที่ดินพิพาทไปขายให้แก่จำเลยที่ 2 โดยไม่ได้รับความยินยอมจากโจทก์ทั้งห้า ส่วนจำเลยที่ 2 แม้จะซื้อที่ดินโดยสุจริต เสียค่าตอบแทนและจดทะเบียนแล้วก็ตาม จำเลยที่ 2 ก็ไม่ได้กรรมสิทธิ์ ดังนั้น การที่โจทก์ทั้งห้าฟ้องเรียกเอาที่ดินพิพาทคืน จึงเป็นการใช้สิทธิติดตามเอาคืนซึ่งทรัพย์สินจากผู้ไม่มีสิทธิยึดถือไว้ตาม ป.

ศ.

นำหลักฐานสิทธิในที่ดินไป เช่น โฉนดที่ดิน 2. หลักฐานม ร ณ ะ บัตร 3. หลักฐานการเป็นผู้มีสิทธิรับมรดก เช่น เป็นลูก เป็น ภ ร ร ย า พินัย ก ร ร ม เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่สอบสวนแล้วเชื่อว่าผู้ขอเป็น ท า ย า ท มีสิทธิรับมรดกตามที่ขอแล้ว พนักงานเจ้าหน้าที่จะทำการประกาศมรดกมีกำหนด ๓๐ วัน แล้วก็จดทะเบียนให้ถ้าไม่มีคัดค้าน ซึ่งจริง มันมีรายละเอียดมากกว่านี้ ยังไงลองติดต่อสำนักงานที่ดินเพื่อสอบถามรายละเอียดดู ส่วนการโอนที่ดินโดยตั้งผู้จัดการมรดกสามารถทำได้ 1. ให้ทา ย า ท ร้องขอต่อศาลให้แต่งตั้งผู้จัดการมรดกทา ย า ท ต้องไปให้การที่ศาล 2. จะมีการจดทะเบียนผู้จัดการมรดก 3. หลังจากนั้น ผู้จัดการมรดก ก็ไปจดทะเบียนได้เลย เจ้าหน้าที่ก็จะรับจดทะเบียนให้ ฟังดูเหมือนง่าย แต่เอาเข้าจริง ใช้เวลาอยู่เหมือนกัน แต่ถ้าจะโอนที่ดิน ยังไงก็ต้องทำตามขั้นตอนตามที่กฎหมาย กำหนดต่อไป… การเตรียมตัวหรือเตรียมความพร้อมไว้จึงเป็นสิ่งที่ดี การทำพินัย ก ร ร ม ก็มิได้เป็นการลดทอนอายุตัวเองต ามคว า มเ ชื่ อแต่ อ ย่ า ง ไร แต่เป็นการเตรียมตัวไม่ ป ร ะ ม า ท ในชีวิตมากกว่า รวมทั้งเป็นการดีที่จะมอบทรัพย์สินให้กับคนที่เราไว้ใจที่จะดูแลต่อจากเราได้ ในทุกเ รื่ อ งหากมีการเตรียมความพร้อมก็จะไม่ก่อให้เกิ ดปัญหาต ามมาค่ะ เรียบเรียง showbizzinfoo Post Views: 2

  1. บริษัท ไทย เร ยอน จํา กัด มหาชน
October 1, 2021